โครงสร้างแบบริง (Ring Network)
โครงสร้างแบบนี้คอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์จะถูกเชื่อมต่อเข้ากับสายเคเบิลเส้นเดียวเป็นวงแหวนดังรูป
ที่ได้แสดงไว้ การส่งข้อมูลจะใช้ทิศทางเดียวกันตลอดโดยผ่านเครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่ถัดกัน
ไปเป็นทอด ๆ ถ้าแอดเดรสของมันไม่ตรงกับผู้รับตามที่เครื่องต้นระบุมา มันก็จะส่งผ่านไปยัง
เครื่องถัดไป จนกว่าจะถึงเครื่องปลายคือตรงกับใครเครื่องนั้นก็รับ ไม่ส่งต่อ โครงสร้างแบบนี้มีข้อเสียคล้าย ๆ กับแบบบัส คือเมื่อสายเคเบิลช่วงใดช่วงหนึ่งขาดจะทำให้ทั้งระบบใช้งานไม่ได้ อย่างไรก็ตามเครือข่ายแบบวงแหวนมักใช้สายเคเบิลที่มีวงแหวนสำรองที่สามารถส่งข้อมูลใน
ทิศทางกลับกัน เพื่อเป็นเส้นทางสำรองในกรณีที่เครือข่ายมีปัญหา ซึ่งราคาแพงพอสมควร นอกจากนี้การเพิ่มเครื่องเข้าไปในเครือข่ายจะต้องปิดการทำงานของระบบก่อนเช่นเดียวกับแบบบัส เครือข่ายแบบนี้ปัจจุบันยังใช้กันอยู่ โดยเฉพาะในเครือข่ายของผลิตภัณฑ์ในตระกูล IBM ซึ่งโดยมากจะเป็นการเชื่อมต่อเครื่องเมนเฟรมหรือมินิคอมพิวเตอร์

ที่มา http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/tech04/20/wired/n03_02.html
เครือข่ายแบบวงแหวน (ring topology)
เป็นลักษระการเชื่อมต่อจุดต่อจุด เช่นเดียวกับแบบดาว โดยแต่ละสถานีจะต่อกับสถานีที่อยู่ติดทั้ง 2 ของตนเองและทุกสถานีมีเครื่องขยายสัญญาณ ของตัวเองโดยจะมีการเชื่อมโยงเครื่องขยายสัญาณ ของละสถานีเข้าด้วยกันเป็นวงแหวนหากข้อมูลที่ส่งเป็นของสถานีใด
เครื่องขยายสัญญาณของสถานีนั้น ก็รับและส่งให้สถานีนั้น จึงต๊องมีการตรวจสอบข้อมูล ที่ได้รับว่าเป็นตนหรือไม่ ถ้าใช่ก็รับไว้ ถ้าไม่ใช่ก็ส่งต่อไป
ที่มา http://blog.csts.ac.th/node/115
เครื่อข่ายแบบ Ring
เป็นเทคโนโลยีเครื่อข่าย Lan ที่พัฒนาโดยบริษัท IBM ซึ่งต่อมา IEEE ได้นำมาเป็นแม่แบบ แบบ Ring การเชื่อมต่อแบบวงแหวน เป็นการเชื่อมต่อจากเครื่องหนึ่งไปอีกเครื่องหนึ่ง จนครบวงจร ในการส่งข้อมูลที่จัส่งออกที่สายสัญญาณวงแหวนโดยจะเป็นการส่งผ่านจากเครื่องหนึ่งไปสู่อีกเครื่องหนึ่ง จนกว่าจะถึงเครื่องปลายทาง
ข้อดี
- ใช้เคเบิลและเนื่อที่ในการติดตั้งน้อย
- คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องในเน็ตเวิร์กมีโอกาสที่จะส่งข้อมูลได้อย่างทัเเทยมกัน
ข้อเสีย
- หากโหลดใดโหลดหนึ่งเกิดปัญหาขึ้นจะค้นหาได้ยากกว่าต้นเหตุอยู่ที่ไหน
ที่มา http://learners.in.th/blog/paopi/ai/315577
โทโปโลยีแบบวงแหวน(Ring)
เป็นรูปแบบที่ เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่อข่าย ทั้งเครื่อที่เป็นผู้ใช้บริการ (Server) และเครื่องเป็นผู้ขอใช้บริการ (Clicnt) ทุกเครื่องถูกเชื่อมต่อกันเป็นวงกลมข้อมูลข่าวสารที่ส่งระหว่างกันจะไหลวนอยู่ในเครื่อข่ายไปใน ทิศทางเดียวกัน โดยไม่มีจุดปลายหรือเทอร์มิเตอร์เช่นเดียวกันกับเครื่อข่ายแบบ Bus ในแต่ละโหมดหรือแต่ละเครื่อง
ที่มา http://www.it.coj.go.th/ringtopology.html
เครื่ข่ายแบบ Ring
เครือข่ายแบบวงแหวน เป็นลักษณะการเชื่อมต่อแบบจุดต่อจุดเช่นเดียวกับแบบดาว
โดยสถานีแต่ละสถานีจะต่อกับสถานี ที่อยู่ติดทั้งสองข้างของตนเอง
โดยจะมีการเชื่อมโยงเครื่องขยายสัญญาณของแต่ละสถานีเข้าด้วยกันเป็นวงแหวน
สัญญาณข้อมูลจะส่งอยู่ในวงแหวนแบบจุดต่อจุดไปในทิศทางเดียวกันจนถึงผู้รับภายในเวลาที่กำหนด
โดยเครื่องขยายสัญญาณเหล่านี้จะมีหน้าที่ในการรับข้อมูลจากเครื่องคอมพิวเตอร์ของตัวเองหรือจากเครื่องขยายสัญญาณตัวก่อนหน้า
และส่งข้อมูลต่อไปยังเครื่องขยายสัญญาณตัวถัดไปเรื่อย ๆ เป็นวง หากข้อมูลที่ส่งเป็นของสถานีใด
เครื่องขยายสัญญาณของสถานีนั้นก็รับและส่งให้กับสถานีนั้น จึงต้องมีการตรวจสอบข้อมูลที่ได้รับว่าเป็นของตนเองหรือไม่
ถ้าใช่ก็รับไว้ ถ้าไม่ใช่ก็ส่งต่อไป อีกทั้งสามารถตรวจสอบความผิดพลาดในการส่งด้วย
ในกรณีที่เครื่องรับปลายทางไม่ได้รับสัญญาณข้อมูลในเวลาที่กำหนด จะมีการแจ้งว่าเกิดความผิดพลาดในเครือข่ายได้
ที่มา http://www.student.chula.ac.th/~48438598/3_ring_topology.html
ที่ได้แสดงไว้ การส่งข้อมูลจะใช้ทิศทางเดียวกันตลอดโดยผ่านเครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่ถัดกัน
ไปเป็นทอด ๆ ถ้าแอดเดรสของมันไม่ตรงกับผู้รับตามที่เครื่องต้นระบุมา มันก็จะส่งผ่านไปยัง
เครื่องถัดไป จนกว่าจะถึงเครื่องปลายคือตรงกับใครเครื่องนั้นก็รับ ไม่ส่งต่อ โครงสร้างแบบนี้มีข้อเสียคล้าย ๆ กับแบบบัส คือเมื่อสายเคเบิลช่วงใดช่วงหนึ่งขาดจะทำให้ทั้งระบบใช้งานไม่ได้ อย่างไรก็ตามเครือข่ายแบบวงแหวนมักใช้สายเคเบิลที่มีวงแหวนสำรองที่สามารถส่งข้อมูลใน
ทิศทางกลับกัน เพื่อเป็นเส้นทางสำรองในกรณีที่เครือข่ายมีปัญหา ซึ่งราคาแพงพอสมควร นอกจากนี้การเพิ่มเครื่องเข้าไปในเครือข่ายจะต้องปิดการทำงานของระบบก่อนเช่นเดียวกับแบบบัส เครือข่ายแบบนี้ปัจจุบันยังใช้กันอยู่ โดยเฉพาะในเครือข่ายของผลิตภัณฑ์ในตระกูล IBM ซึ่งโดยมากจะเป็นการเชื่อมต่อเครื่องเมนเฟรมหรือมินิคอมพิวเตอร์

ที่มา http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/tech04/20/wired/n03_02.html
เครือข่ายแบบวงแหวน (ring topology)
เป็นลักษระการเชื่อมต่อจุดต่อจุด เช่นเดียวกับแบบดาว โดยแต่ละสถานีจะต่อกับสถานีที่อยู่ติดทั้ง 2 ของตนเองและทุกสถานีมีเครื่องขยายสัญญาณ ของตัวเองโดยจะมีการเชื่อมโยงเครื่องขยายสัญาณ ของละสถานีเข้าด้วยกันเป็นวงแหวนหากข้อมูลที่ส่งเป็นของสถานีใด
เครื่องขยายสัญญาณของสถานีนั้น ก็รับและส่งให้สถานีนั้น จึงต๊องมีการตรวจสอบข้อมูล ที่ได้รับว่าเป็นตนหรือไม่ ถ้าใช่ก็รับไว้ ถ้าไม่ใช่ก็ส่งต่อไป
ที่มา http://blog.csts.ac.th/node/115
เครื่อข่ายแบบ Ring
เป็นเทคโนโลยีเครื่อข่าย Lan ที่พัฒนาโดยบริษัท IBM ซึ่งต่อมา IEEE ได้นำมาเป็นแม่แบบ แบบ Ring การเชื่อมต่อแบบวงแหวน เป็นการเชื่อมต่อจากเครื่องหนึ่งไปอีกเครื่องหนึ่ง จนครบวงจร ในการส่งข้อมูลที่จัส่งออกที่สายสัญญาณวงแหวนโดยจะเป็นการส่งผ่านจากเครื่องหนึ่งไปสู่อีกเครื่องหนึ่ง จนกว่าจะถึงเครื่องปลายทาง
ข้อดี
- ใช้เคเบิลและเนื่อที่ในการติดตั้งน้อย
- คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องในเน็ตเวิร์กมีโอกาสที่จะส่งข้อมูลได้อย่างทัเเทยมกัน
ข้อเสีย
- หากโหลดใดโหลดหนึ่งเกิดปัญหาขึ้นจะค้นหาได้ยากกว่าต้นเหตุอยู่ที่ไหน
ที่มา http://learners.in.th/blog/paopi/ai/315577
โทโปโลยีแบบวงแหวน(Ring)
เป็นรูปแบบที่ เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่อข่าย ทั้งเครื่อที่เป็นผู้ใช้บริการ (Server) และเครื่องเป็นผู้ขอใช้บริการ (Clicnt) ทุกเครื่องถูกเชื่อมต่อกันเป็นวงกลมข้อมูลข่าวสารที่ส่งระหว่างกันจะไหลวนอยู่ในเครื่อข่ายไปใน ทิศทางเดียวกัน โดยไม่มีจุดปลายหรือเทอร์มิเตอร์เช่นเดียวกันกับเครื่อข่ายแบบ Bus ในแต่ละโหมดหรือแต่ละเครื่อง
ที่มา http://www.it.coj.go.th/ringtopology.html
เครื่ข่ายแบบ Ring
เครือข่ายแบบวงแหวน เป็นลักษณะการเชื่อมต่อแบบจุดต่อจุดเช่นเดียวกับแบบดาว
โดยสถานีแต่ละสถานีจะต่อกับสถานี ที่อยู่ติดทั้งสองข้างของตนเอง
โดยจะมีการเชื่อมโยงเครื่องขยายสัญญาณของแต่ละสถานีเข้าด้วยกันเป็นวงแหวน
สัญญาณข้อมูลจะส่งอยู่ในวงแหวนแบบจุดต่อจุดไปในทิศทางเดียวกันจนถึงผู้รับภายในเวลาที่กำหนด
โดยเครื่องขยายสัญญาณเหล่านี้จะมีหน้าที่ในการรับข้อมูลจากเครื่องคอมพิวเตอร์ของตัวเองหรือจากเครื่องขยายสัญญาณตัวก่อนหน้า
และส่งข้อมูลต่อไปยังเครื่องขยายสัญญาณตัวถัดไปเรื่อย ๆ เป็นวง หากข้อมูลที่ส่งเป็นของสถานีใด
เครื่องขยายสัญญาณของสถานีนั้นก็รับและส่งให้กับสถานีนั้น จึงต้องมีการตรวจสอบข้อมูลที่ได้รับว่าเป็นของตนเองหรือไม่
ถ้าใช่ก็รับไว้ ถ้าไม่ใช่ก็ส่งต่อไป อีกทั้งสามารถตรวจสอบความผิดพลาดในการส่งด้วย
ในกรณีที่เครื่องรับปลายทางไม่ได้รับสัญญาณข้อมูลในเวลาที่กำหนด จะมีการแจ้งว่าเกิดความผิดพลาดในเครือข่ายได้
ที่มา http://www.student.chula.ac.th/~48438598/3_ring_topology.html